สุขภาพดีด้วยน้ำด่าง น้ำดื่มที่คนรักสุขภาพเลือกดื่ม
Share: facebook_share สุขภาพดีด้วยน้ำด่าง น้ำดื่มที่คนรักสุขภาพเลือกดื่ม line_share สุขภาพดีด้วยน้ำด่าง น้ำดื่มที่คนรักสุขภาพเลือกดื่ม twitter_share สุขภาพดีด้วยน้ำด่าง น้ำดื่มที่คนรักสุขภาพเลือกดื่ม messenger_share สุขภาพดีด้วยน้ำด่าง น้ำดื่มที่คนรักสุขภาพเลือกดื่ม

สุขภาพดีด้วยน้ำด่าง น้ำดื่มที่คนรักสุขภาพเลือกดื่ม


หากวันนี้คุณเริ่มต้นดูแลตัวเอง นั่นแหละถือเป็นสัญญาณที่ดีมาก ๆ แต่ถ้าจะดีมากกว่า ก็ต้องเลือกดื่มน้ำดื่มที่มีประโยชน์ เราจึงขอแนะนำให้คุณมีร่างกายแข็ง สุขภาพดีด้วยน้ำด่าง น้ำดื่มที่คนรักสุขภาพเลือกดื่ม

 

 

น้ำด่าง หรือ น้ำดื่มอัลคาไลน์ สารพัดประโยชน์ คืออะไร?

ขอแนะนำ น้ำด่าง หรือ น้ำดื่มอัลคาไลน์ ( Alkaline Water ) ถือเป็นน้ำดื่ม ที่มีค่าของความเป็นด่าง ( pH ) โดยภายในน้ำดื่มนี้ ประกอบด้วย แร่ธาตุ ที่ร่างกายของคุณต่างก็ต้องการ ใน น้ำด่าง หรือ น้ำดื่มอัลคาไลน์ ( Alkaline Water ) มีแร่ธาตุที่สำคัญ ผสมอยู่มากมาย อาทิ แมกนีเซียม, โปรเทสเซียม, แคลเซียม และ โซเดียม อีกทั้งใน น้ำดื่มอัลคาไลน์ ( Alkaline Water ) หรือ น้ำด่าง ก็ยังเป็นน้ำดื่ม ที่มี โมเลกุล ที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ด้วยเหตุผลนี้แหละ ที่ทำให้ร่างกายของคุณสามารถดูดซึมน้ำ และสารอาหารต่าง ๆ จากอาหารที่ทานเข้าไป เพื่อเข้าไปใช้ ประโยชน์ในส่วนต่าง ๆ ได้อย่างลงตัวเลยค่ะ

 

เอาล่ะวันนี้ เรามาดูกันดีกว่าค่ะ ว่าดื่มน้ำด่าง หรือ น้ำอัลคาไลน์ แล้วมันจะส่งผลดีต่อร่างกายมากแค่ไหน รวมถึง เทคนิคที่ดี ที่ได้นำมาฝากคุณด้วยนะคะ

 

- คุณควรดื่มน้ำตามน้ำหนักตัว

มีวิธี ที่คำนวณ ปริมาณ น้ำ ที่ร่างกายต้องการ คร่าว ๆ คือ ดื่มน้ำ นั้นคิดเป็นแก้ว ( แก้วละ 12 ออนซ์ ) ให้ได้ 1/4 ของน้ำหนักตัว อย่างเช่น ถ้าหากคุณมีน้ำหนัก 40 กก. ให้ดื่ม วันละ 4 แก้ว แต่หาก ทำกิจกรรมเยอะ และ อยู่ในที่ ที่มีอากาศร้อน ก็ต้องดื่มน้ำ มากกว่านั้น แต่ในปัจจุบัน มีเทรนด์การดื่มน้ำ ให้มากกว่า วันละ 2 ลิตร ก็ถือว่าส่งผลดีต่อสุขภาพ และ ร่างกาย รวมถึง การดื่มน้ำด่าง ก็ให้ความชุ่มชื้น ที่มากกว่า อีกด้วยค่ะ โดยสูตรการคูณนั่นคือ คำนวณโดยใช้สูตร น้ำหนัก x 2.2 x 30/2 = ปริมาณน้ำ (มล.) อาทิ น้ำหนักตัว 65 x 2.2 x 30/2 = 2,145 มล. นี่คือปริมาณที่ร่างกายควรดื่มต่อวัน ถ้าหากดื่มน้ำได้น้อยกว่า ในปริมาณที่ร่างกายต้องการ มันก็จะส่งผลให้การไหลเวียนของเลือด สามารถทำงานได้ไม่ดี ทำให้ร่างกายขับของเสียได้ยากอีกด้วยค่ะ

 

- ปรับพฤติกรรม ในการดื่มน้ำ

หากคุณยังไม่ค่อย ดื่มน้ำ หรือว่าตัวคุณเอง ก็ลืมว่าจะต้องดื่ม ก็ต้องขอแนะนำ ให้คุณตั้งเวลา เพื่อดื่มน้ำ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง หรือว่า อาจจะใช้ วิธีจดบันทึก สิ่งที่ดื่ม ลงในสมุด หรือ สมาร์ทโฟนของคุณ จากนั้น นำผลลัพธ์ มาพิจารณาต่อ ว่าที่ดื่มไปนั้น มีความเพียงพอ กับความต้องการ ของร่างกายไหม ก่อนจะเพิ่มเติมในช่วงเวลา การดื่มน้ำ ในวันต่อไป อีกทางที่ดี นั่นคือ การซื้อ ขวดน้ำขนาดลิตร ก็อาจจะดูใหญ่ และยุ่งยาก แต่แน่นอนแหละ จะช่วยให้ การดื่มน้ำ ง่ายขึ้น ไม่ต้องจด หรือจำอะไรต่าง ๆ ให้มากมาย รวมถึง การดื่มน้ำ ที่มีโมเลกุลขนาดเล็ก อย่างเช่น การดื่ม น้ำด่าง หรือ น้ำดื่มอัลคาไลน์ ( Alkaline Water ) ก็จะช่วยในการ ดูดซึม สารอาหาร แร่ธาตุต่าง ๆ เข้าไปใน ร่างกาย ได้ดี และมากขึ้นด้วย

 

- ไม่ควรดื่มน้ำ ขณะรับประทานอาหาร

ในขณะที่คุณ นั้นกำลังทานอาหารไป แล้วก็ ดื่มน้ำไปด้วย มันก็จะลด ประสิทธิภาพ การทำงาน ของน้ำย่อย ถ้าหากรู้สึก ฝืดคอ ในขณะที่ กำลังกลืนอาหาร ให้ลองเคี้ยว 30 – 40 ครั้ง ต่อคำ นั่นก็จะช่วยได้ แต่การเปลี่ยน มาดื่ม น้ำด่าง หรือ น้ำดื่มอัลคาไลน์ ( Alkaline Water ) แทน ในขณะที่คุณ กำลังรับประทานอาหาร น้ำด่าง นี่แหละที่ช่วยให้ การทานอาหาร อร่อยขึ้นง่าย ๆ เพราะว่า ความสามารถ ในการดูดซึมสารอาหาร ที่เราได้จากการทานอาหาร ให้เราสามารถลิ้มรสชาติ ของอาหาร ได้เยอะมากขึ้น ทานอาหารได้อร่อยมากขึ้นอีกด้วยค่ะ

 

- ควรดื่มน้ำ จนปัสสาวะใส ( ไม่เป็นสีเข้ม )

ร่างกายของเรา มีความจำเป็นต้อง ปัสสาวะในทุก ๆ 3 – 4 ชั่วโมง และ สีของน้ำอัสสาวะควรเป็น สีใส แต่ถ้าหากมี สีเหลือง แสดงว่า ร่างกายของคุณ กำลังเริ่มอยู่ใน ภาวะขาดน้ำ ยิ่งถ้าเป็นสีส้ม หรือสีเข้มมากๆ และ น้ำตาล นั่นหมายถึง ภาวะขาดน้ำ ที่มีความรุนแรงขึ้นสุดๆ จึงขอแนะนำให้ดื่ม น้ำด่าง หรือ น้ำดื่มอัลคาไลน์ ( Alkaline Water ) ก็จะช่วยบรรเทา ความเป็นกรดต่างๆ ในร่างกายได้ด้วย

 

เห็นไหมคะว่า สุขภาพดีด้วยน้ำด่าง หรือ น้ำดื่มอัลคาไลน์ ( Alkaline Water ) นั้นก็ไม่ยากเลยค่ะ เรียกได้ว่าเป็น น้ำดื่มที่คนรักสุขภาพเลือกดื่ม หากสนใจสินค้า สามารถสั่งซื้อ https://alkalinewaterdrink.com ได้ทันทีเลยค่ะ สุขภาพดี สร้างได้ด้วยต้วคุณเองค่ะ

 

 

 

อ่านบทความเพิ่มเติม

น้ำด่างดีอย่างไร ทำไมต้องดื่ม?

น้ำอัลคาไลน์และคุณสมบัติ ต้านอนุมูลอิสระ


บทความที่แนะนำ